การแปรรูปสมุนไพรไทยเพื่อการรักษาโรค ทางเลือกใหม่จากองค์ความรู้ดั้งเดิม ของชุมชนตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 02 มี.ค. 64
วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ศิลาแลง จังหวัดน่าน ผลักดันการใช้นวัตกรรมพลังงานสีเขียวของชุมชน ด้วยการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ซางนวล วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ศิลาแลง จังหวัดน่าน การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 02 มี.ค. 64
กลุ่ม ‘ฟาร์มแพะนางฟ้า’ ปรับโฉมแบรนด์ครั้งใหม่ตามอัตลักษณ์ของชุมชน เพื่อดึงดูดผู้บริโภคให้มองเห็นคุณค่าที่ซ่อนอยู่หลังกล่องนม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 27 ม.ค. 64
ชาวสะเมิงหยิบต้นทุนชุมชนอย่างสตอรว์เบอร์รีและหญ้าหวานมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยืนอยู่บนแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์และนิเวศวัฒนธรรม คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 27 ม.ค. 64
หมู่บ้านเลาวูสร้างหยิบ 4 ต้นทุนชุมชนมาพัฒนาเป็นจุดแข็งใหม่ เพื่อให้ชุมชนสร้างรายได้ระหว่างรอผลผลิตจากต้นกาแฟ วิสาหกิจชุมชนเกษตรธรรมชาติลีซู ตำบลเมืองแหง เชียงใหม่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 27 ม.ค. 64
ชาวแม่ออน เชียงใหม่ สู้วิกฤติโควิด-19 ด้วยการเรียนรู้ทักษะชีววิถีที่นำของเหลือใช้ภายในบ้านมาลดรายจ่ายและสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน โรงเรียนสถาบันพัฒนาการศึกษาและอาชีพ สมาคม วาย.เอ็ม.ซี.เอ.เชียงใหม่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 27 ม.ค. 64
พัฒนาอาชีพคู่ขนานการเกษตรฐานรากครบวงจร จังหวัดเชียงราย (Comprehensive Agro-localisation Product Development:Chiang Rai Province) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 26 ม.ค. 64
ต่อยอดโครงการพัฒนาอาชีพของชาวอ่าข่า ให้ครอบคลุมถึงชุมชนชาติพันธุ์อื่นๆ ในจังหวัดเชียงราย เครือข่ายวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยชนเผ่าอ่าข่า จังหวัดเชียงราย การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 26 ม.ค. 64
แม่โจ้-ชุมพร ต่อยอดโครงการเชื่อมสองชุมชน จากสบู่สมุนไพรน้ำผึ้ง สู่กล้วยหอมทองฉาบ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จังหวัด ชุมพร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 25 ม.ค. 64
วิสาหกิจชุมชนพอใจในวิถีพอเพียงรวมกลุ่มตั้งโครงการปลูกพืชอินทรีย์ หยุดการผูกขาดของสารเคมี วิสาหกิจชุมชนพอใจในวิถีพอเพียง (ชื่อเดิมสถานธรรมไท่ซิวเอวี๋ยน) จังหวัด กาญจนบุรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 22 ม.ค. 64
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดาเปิดหลักสูตรเพิ่มมูลค่าสับปะรดที่ตำบลชุมแสง จังหวัดระยอง ต่อยอดการแปรรูปสู่ผลไม้นานาชนิด สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา จังหวัด กรุงเทพมหานคร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 22 ม.ค. 64
มูลนิธิไทยรักษ์ป่าร่วมต่อยอด ‘ไผ่’ ความหวังใหม่ของเกษตรกรบ้านแม่ยางส้าน ที่จะช่วยให้ป่าและคนในชุมชนอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล มูลนิธิไทยรักษ์ป่า การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 22 ม.ค. 64
“กินอาหารให้เป็นยา ไม่ใช่กินยาให้เป็นอาหาร” แนวคิดง่ายๆ จากมูลนิธิวัชระดวงแก้ว ที่ทำให้คนในชุมชนวังทองและดงละครหันมาสนใจสมุนไพรใกล้ตัว มูลนิธิวัชระดวงแก้ว การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 22 ม.ค. 64
ม.ราชภัฏสุราษฎร์ออกโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ แก้ปัญหาความมั่นคงทางอาหารและรายได้ให้ชุมชนชนอ่าวบ้านดอน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 26 พ.ย. 63
‘ต่อยอดให้เป็น แปรรูปให้ได้’ กศน.สุไหง-โกลกเปิดโครงการเสริมทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแรงงานด้อยโอกาสเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงโก-ลก การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 25 พ.ย. 63
ม.มหิดล นครสวรรค์ ดึงผู้ด้อยโอกาสมาฝึกทักษะผลิตชะลอมไม้ไผ่ สร้างโอกาส เพิ่มรายได้ พัฒนาผลิตภัณฑ์สะท้อนวิถีชุมชน ตอบโจทย์ความต้องการในท้องถิ่น โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 25 พ.ย. 63
ม.พะเยานำต้นทุนในชุมชนแม่กา มาต่อยอดเป็นโครงการฝึกทักษะสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดออนไลน์ วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
‘กลุ่มฅนวัยใส’ จัดโครงการฝึกทักษะ ‘พ่อแม่วัยรุ่น’ ให้เป็นเจ้าของร้านอาหารขนาดเล็ก แก้ปัญหาครอบครัวอย่างยั่งยืน กลุ่มฅนวัยใส การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
โครงการพัฒนาอาชีพที่ถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของเพื่อนคนพิการ เพื่อนำมาสอนให้กับคนพิการด้วยกันเอง มูลนิธิเพื่อพัฒนาคนพิการ อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา เปิดคอร์สสอนทักษะอาชีพหลากหลายรูปแบบ เพื่อช่วยดึงศักยภาพของแรงงานด้อยโอกาสให้นำออกมาใช้อย่างเต็มที่ ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
กศน.บึงกาฬส่งต่อความรู้การสร้างผลิตภัณฑ์จากกกและผือ ช่วยเหลือกลุ่มชาวบ้านในชุมชนที่ประสบปัญหาราคายางตกต่ำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองบึงกาฬ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 22 ก.ค. 63