เรื่องเล่าจากชุมชน เรื่องเล่าจากชุมชน วิทยาลัยชุมชนพังงาเปิดโครงการฝึกแคดดี้ให้แรงงานนอกระบบ ช่วยสนับสนุนนโยบายการท่องเที่ยวเชิงกีฬาของจังหวัดพังงาเมืองแห่งความสุข วิทยาลัยชุมชนพังงา บทที่ 3 สรุปบทเรียน 21 พ.ค. 64
วิทยาลัยชุมชนยโสธรแก้ปัญหารายได้เกษตรกรสูงอายุ โดยเปิดสอนการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ‘ผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่อง’ ที่หลงเหลือจากกระบวนการทำผ้าไหม วิทยาลัยชุมชนยโสธร เกษตรกรรม บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนเปิดโครงการสอนการบริหารโฮมสเตย์ชุมชนชาติพันธุ์และการทำเกษตรพื้นที่สูง ต้อนรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม ‘So Lo Mo’ ที่ชอบสัมผัสประสบการณ์ใหม่ๆ การพัฒนาทักษะและเพิ่มมูลค่าการให้บริการโฮมสเตย์ชุมชนชาติพันธุ์และการเกษตรแม่นยำบนพื้นที่สูง การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนแพร่นำหลักสูตรการย้อมเสื้อหม้อห้อมแบบดั้งเดิมด้วยสีธรรมชาติกลับมาสอน ช่วยสร้างทักษะ สร้างอาชีพให้กับคนด้อยโอกาสใน 3 ชุมชนของตัวจังหวัด วิทยาลัยชุมชนแพร่ งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
ม.พะเยานำต้นทุนในชุมชนแม่กา มาต่อยอดเป็นโครงการฝึกทักษะสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดออนไลน์ วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
ม.นครพนม ติดทักษะช่างเชื่อมสแตนเลสให้กับเกษตรกร ต้อนรับการปรับสถานะเป็นพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ หวังช่วยเสริมรายได้นอกฤดูทำนา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยนครพนม งานช่าง บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
‘กลุ่มฅนวัยใส’ จัดโครงการฝึกทักษะ ‘พ่อแม่วัยรุ่น’ ให้เป็นเจ้าของร้านอาหารขนาดเล็ก แก้ปัญหาครอบครัวอย่างยั่งยืน กลุ่มฅนวัยใส การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
สำนักงานพัฒนาชุมชนเปิดโครงการฝึกอบรบการทำไหมมัดหมี่ในอำเภอจัตุรัส เพื่อสืบสานภูมิปัญญา ‘ผ้าชัยภูมิ’ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
สถาบันไทเลยเพื่อการพัฒนา เปิดหลักสูตรเกษตรอินทรีย์และการย้อมผ้าสีธรรมชาติ สร้างอาชีพให้กับแรงงานด้อยโอกาสในชุมชน สถาบันไทเลยเพื่อการพัฒนา (กลุ่มก่อการดีเลย) งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 13 พ.ย. 63
ทวงคืนบัลลังก์ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด วิสาหกิจชุมชนส้มจุกจะนะเปิดโครงการแบ่งปันความรู้การดูแลส้มจุกให้ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน วิสาหกิจชุมชนส้มจุกจะนะ เกษตรกรรม บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
โครงการพัฒนาอาชีพที่ถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของเพื่อนคนพิการ เพื่อนำมาสอนให้กับคนพิการด้วยกันเอง มูลนิธิเพื่อพัฒนาคนพิการ อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
เมื่อชุมชนบ้านแม่ตาดขาดหนุ่มสาว โครงการเลี้ยงจิ้งโก่งจึงเกิดขึ้นเพื่อสร้างอาชีพให้ผู้สูงวัย วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด เกษตรกรรม บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
ปลุกปั้นเครื่องปั้นดินเผาเชียงเครือขึ้นมาใหม่อีกครั้ง ด้วยดินเหนียวพิเศษที่มีแค่ในชุมชนเท่านั้น! เทศบาลตำบลเชียงเครือ งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
เปลี่ยนอดีตนักโทษให้เป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่! ด้วยการเปิดคอร์สอบรมทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 ในทัณฑสถานฯ ลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง ผู้ประกอบการ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา เปิดคอร์สสอนทักษะอาชีพหลากหลายรูปแบบ เพื่อช่วยดึงศักยภาพของแรงงานด้อยโอกาสให้นำออกมาใช้อย่างเต็มที่ ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
วิสาหกิจชุมชนแม่ทา SE ผนึกความร่วมมือกับ 4 วิสาหกิจชุมชนใกล้เคียง เพื่อฝึกทักษะแรงงานด้อยโอกาสตามความถนัด ช่วยสร้างความมั่นคงทางอาชีพ วิสาหกิจชุมชนแม่ทาSE (กิจการเพื่อสังคมแม่ทา) ผู้ประกอบการ บทที่ 2 ระหว่างทาง 19 ส.ค. 63
กศน.อำเภอภูซางฟื้นฟูทักษะการผลิตผ้าที่เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มสตรี สร้างอาชีพ เสริมความแข็งแกร่งให้กับกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดพะเยา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 18 ส.ค. 63
วิทยาลัยชุมชนน่าน เปิดหลักสูตรนวดไทยเพื่อสุขภาพให้กับผู้ด้อยโอกาสและผู้ถูกคุมประพฤติ สร้างอาชีพหมอนวดที่สอดคล้องกับการเติบโตของจังหวัดน่าน วิทยาลัยชุมชนน่าน การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 2 ระหว่างทาง 18 ส.ค. 63
ศูนย์เรียนรู้บ้านโนนพริก แก้ปัญหาขาดแคลนพืชผักและเนื้อสัตว์ที่ปลอดภัยในชุมชน ด้วยการยกระดับทักษะของเกษตรกรจากกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน บ้านโนนพริก เกษตรกรรม บทที่ 2 ระหว่างทาง 18 ส.ค. 63
วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร จับนวดไทยมาสอนคนตำบลร่มเกล้า เตรียมชุมชนให้พร้อมรับนักท่องเที่ยวดูกังหันยักษ์ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 2 ระหว่างทาง 07 ส.ค. 63
ยุติความเหลื่อมล้ำในอำเภอกัลยาณิวัฒนา ผ่านโครงการพัฒนาอาชีพทอผ้าท้องถิ่นที่ทำให้กลุ่มสตรีฯ เหนียวแน่นกันมากขึ้น วิสาหกิจชุมชนสินค้าแม่แดดน้อย งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 04 ส.ค. 63
วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีจับภูมิปัญญาผ้าทอพื้นเมืองมาสร้างหลักสูตร แก้ปัญหาการว่างงานของแรงงานนอกระบบ วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 2 ระหว่างทาง 03 ส.ค. 63