เรื่องเล่าจากชุมชน เรื่องเล่าจากชุมชน กศน.อำเภอภูซางฟื้นฟูทักษะการผลิตผ้าที่เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มสตรี สร้างอาชีพ เสริมความแข็งแกร่งให้กับกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดพะเยา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา บทที่ 3 สรุปบทเรียน 21 พ.ค. 64
กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านแดง ดึงกลุ่มแรงงานด้อยโอกาสในชุมชนมาต่อยอดองค์ความรู้เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากก แก้ปัญหาเศรษฐกิจในครัวเรือน คณะกรรมการพัฒนาสตรีตำบลบ้านแดง งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
อบต.ยางใหญ่เปิดโครงการสอนการขายผ่านออนไลน์ ติดทักษะเทคโนโลยี เพิ่มช่องทางหารายได้ให้กับชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลยางใหญ่ ขายออนไลน์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จับเอาภูมิปัญญาการทอผ้าไหมสุรินทร์มาต่อยอดเป็นหลักสูตรสร้างอาชีพให้กับคนด้อยโอกาสในชุมชน คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
ม.ราชภัฏสุราษฎร์ออกโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ แก้ปัญหาความมั่นคงทางอาหารและรายได้ให้ชุมชนชนอ่าวบ้านดอน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนสตูล ริเริ่มโครงการสอนทักษะแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้กับคนด้อยโอกาสในชุมชน สร้างรายได้จากนักท่องเที่ยวอุทยานธรณีโลกของ UNESCO วิทยาลัยชุมชนสตูล การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนสตูลเปิดโครงการอบรมมัคคุเทศให้ได้ใบอนุญาตมัคคุเทศก์เฉพาะภูมิภาค (ภาคใต้) แก้ปัญหานำเที่ยวข้ามจังหวัดไม่ได้ วิทยาลัยชุมชนสตูล การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
สํานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร จังหวัดสตูล ทำโครงการพัฒนากลุ่มเกษตรอินทรีย์ให้กับเครือข่าย ‘เขา นา และทะเล’ เพื่อวิถีสีเขียวที่มั่นคง สํานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร สาขาจังหวัดสตูล ผู้ประกอบการ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
สถานพินิจฯ สตูล เปิดสอนหลักสูตรช่างปูกระเบื้องให้กับเยาวชนในศูนย์ เพื่อเป็นทางเลือกในการสร้างอาชีพตามความสนใจ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสตูล งานช่าง บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
ทวงคืนบัลลังก์ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด วิสาหกิจชุมชนส้มจุกจะนะเปิดโครงการแบ่งปันความรู้การดูแลส้มจุกให้ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน วิสาหกิจชุมชนส้มจุกจะนะ เกษตรกรรม บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
ม.เกษตร สกลนคร ทำโครงการฝึกสอนเกษตรอินทรีย์และการแปรรูปที่สอดแทรกเนื้อหาด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อช่วยเปิดตลาดออนไลน์สร้างโอกาสให้กับเกษตรกร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ผู้ประกอบการ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 19 เม.ย. 63
กลุ่มเยาวชน ‘กอนกวยโซดละเว’ จัดทำโครงการต่อลมหายใจผ้าไหมชาวกวย สืบสานวัฒนธรรม และสร้างอาชีพให้กลุ่มเยาวชนด้อยโอกาสในชุมชน กลุ่มเยาวชนกอนกวยโซดละเว เกษตรกรรม บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
วิสาหกิจชุมชนแม่ทา SE ผนึกความร่วมมือกับ 4 วิสาหกิจชุมชนใกล้เคียง เพื่อฝึกทักษะแรงงานด้อยโอกาสตามความถนัด ช่วยสร้างความมั่นคงทางอาชีพ วิสาหกิจชุมชนแม่ทาSE (กิจการเพื่อสังคมแม่ทา) ผู้ประกอบการ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
คณะสังคมสงเคราะห์ฯ มธ. จับมือกับเรือนจำกลางลำปาง นำโปรแกรมการวางแผนชีวิตและอาชีพมาฝึกสอนให้ผู้กระทำผิดพร้อมสำหรับการกลับสู่สังคม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง ผู้ประกอบการ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
จับการแต่งกายแบบ ‘บาบ๋า’ ที่เป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมของระนอง มาสร้างเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์จากผ้าปาเต๊ะ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กับชุมชน วิทยาลัยชุมชนระนอง งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
เปลี่ยนผู้ด้อยโอกาสในชุมชนให้เป็นแรงงานฝีมือที่สามารถก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการ กับโครงการฝึกทักษะที่ใฝ่ฝันของม.ราชภัฏยะลา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งานช่าง บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
โลกยุคใหม่ต้องขายออนไลน์เป็น! กศน.ป่าติ้วจัดโครงการนักขายมือทองที่สอนคนรุ่นใหม่ให้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการขายผลิตภัณฑ์ของชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอป่าติ้ว การพัฒนาหลักสูตร/อบรม บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนยโสธรแก้ปัญหารายได้เกษตรกรสูงอายุ โดยเปิดสอนการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก ‘ผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่อง’ ที่หลงเหลือจากกระบวนการทำผ้าไหม วิทยาลัยชุมชนยโสธร เกษตรกรรม บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 18 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนเปิดโครงการสอนการบริหารโฮมสเตย์ชุมชนชาติพันธุ์และการทำเกษตรพื้นที่สูง ต้อนรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม ‘So Lo Mo’ ที่ชอบสัมผัสประสบการณ์ใหม่ๆ การพัฒนาทักษะและเพิ่มมูลค่าการให้บริการโฮมสเตย์ชุมชนชาติพันธุ์และการเกษตรแม่นยำบนพื้นที่สูง การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 17 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนแพร่นำหลักสูตรการย้อมเสื้อหม้อห้อมแบบดั้งเดิมด้วยสีธรรมชาติกลับมาสอน ช่วยสร้างทักษะ สร้างอาชีพให้กับคนด้อยโอกาสใน 3 ชุมชนของตัวจังหวัด วิทยาลัยชุมชนแพร่ งานหัตถกรรมและฝีมือ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 17 เม.ย. 63
วิทยาลัยชุมชนพังงาเปิดโครงการฝึกแคดดี้ให้แรงงานนอกระบบ ช่วยสนับสนุนนโยบายการท่องเที่ยวเชิงกีฬาของจังหวัดพังงาเมืองแห่งความสุข วิทยาลัยชุมชนพังงา การบริการและการท่องเที่ยว บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 17 เม.ย. 63
ม.พะเยานำต้นทุนในชุมชนแม่กา มาต่อยอดเป็นโครงการฝึกทักษะสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดออนไลน์ วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลิตภัณฑ์ บทที่ 1 ณ จุดเริ่มต้น 17 เม.ย. 63